Everything about วิจัยกรุงศรี

รายกลางและรายย่อย ส่วนใหญ่เป็นการบริหารงานแบบครอบครัว มีเงินทุนจำกัด จึงมีอำนาจการต่อรองต่ำกว่า โดยจะรับเหมาช่วงจากผู้รับเหมารายใหญ่ โดยเฉพาะโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐ รวมถึงมองหาช่องทางเพิ่มรายได้จากงานซ่อมแซมและปรับปรุงอาคาร

ศูนย์ศึกษาเอเปค สถาบันอาณาบริเวณศึกษา

จากมาตรการทั้งหมดที่กล่าวไปข้างต้น วิจัยกรุงศรีมองว่า มาตรการเพิ่มการจ้างงานและมาตรการกระตุ้นการลงทุนในอุตสาหกรรมการผลิต มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื่องจากช่วยเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงตลาดแรงงานของแรงงานทักษะต่ำและยังช่วยลดทอนผลกระทบจากรายได้ครัวเรือนที่ลดลง ขณะที่มาตรการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ ไม่สามารถทำให้ค่าจ้างแท้จริงของแรงงานเพิ่มขึ้นได้เท่ากับอัตราค่าแรงขั้นต่ำที่เพิ่มขึ้นจริง ทั้งยังทำให้ผู้ประกอบการมีต้นทุนสูงขึ้น อัตราเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นและก่อให้เกิดผลทางลบต่อเศรษฐกิจ

ประเด็นสืบสวน ความโปร่งใสภาคธุรกิจ

การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างของเศรษฐกิจโลก…มีผลต่อทิศทางธุรกิจ/อุตสาหกรรมในระยะข้างหน้า

ห่วงโซ่อุปทานด้านการผลิตมีแนวโน้มที่จะสั้นลง มีความหลากหลายมากขึ้น และแยกย่อยเป็นระดับภูมิภาคมากขึ้น เพราะการค้าโลกเจออุปสรรคมากขึ้น รวมไปถึงการปรับตัวของประเทศเศรษฐกิจหลักเพื่อพึ่งพาตนเองมากขึ้นในการจัดหาสินค้าเข้าสู่ตลาดในประเทศ

ประเด็นสืบสวน ความโปร่งใสภาคธุรกิจ

วิจัยกรุงศรี ชี้ เศรษฐกิจไทยพ้นจุดวิกฤติ ส่งออกโต คนพร้อมใช้จ่ายหลังโควิด

ปัจจัยส่งเสริมการเติบโตของตลาดคาร์บอนเครดิต

นิคมอุตสาหกรรมในภาคกลาง: ความต้องการซื้อหรือเช่าพื้นที่จะยังเติบโตจากความได้เปรียบเชิงกายภาพด้านการคมนาคมขนส่ง หนุนให้รายได้ยังคงเติบโตดี โดยเฉพาะรายได้จากค่าบริการสาธารณูปโภค และค่าเช่า

ป้ายคำ : วิจัยกรุงศรี การปรับเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำกำลังซื้อของครัวเรือนกุศลิน จารุชาติตะกร้าการบริโภควิจัยกรุงศรีเงินเฟ้อ

อุปสงค์รับแรงสนับสนุนจากมาตรการรัฐบาล

วิจัยกรุงศรีทำการศึกษาผ่านการตั้งสมมติฐานในการปรับลดอัตราภาษีลงในแต่ละอุตสาหกรรมของไทย เพื่อสะท้อนว่า หากภาครัฐมีการสร้างกลไกหรือออกมาตรการกระตุ้นการใช้จ่ายของภาคเอกชนในแต่ละอุตสาหกรรมมากขึ้น จะส่งผลต่อเศรษฐกิจไทยอย่างไร

มุมมองวิจัยกรุงศรี: ตลาดคาร์บอนเครดิตที่เติบโตท่ามกลางโอกาสของผู้เล่นทุกภาคส่วน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *